Author name: pawsville.02

บทความสัตว์อื่นๆ

โรค PBFD ในสัตว์ปีก 

โรคไวรัสปากและขน หรือ Psittacine Beak and Feather Disease (PBFD) นั้นเกิดจากไวรัส Avian Circovirus ที่สามารถทำลายเซลล์ที่สร้างขนและระบบการหายใจของนกได้ โดยสามารถส่งผลให้นกที่ติดเชื้อมีอาการการเจริญเติบโตของขนที่ผิดปกติ เเละ เกิดความผิดปกติของหงอนและเล็บ โรคนี้สามารถแพร่กระจายได้โดยทางตรงและทางอ้อม

บทความสัตว์อื่นๆ

การเลี้ยงสัตว์เอ็กโซติกให้เกิดความเชื่องกับคน

การเลี้ยงสัตว์เอ็กโซติก หรือสัตว์แปลก เป็นที่นิยมมากขึ้นในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม สัตว์เหล่านี้มีความต้องการและพฤติกรรมที่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงทั่วไป การทำความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทางที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้สัตว์เอ็กโซติกมีสุขภาพแข็งแรงและปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ได้อย่างมีความสุข

บทความสัตว์อื่นๆ

การดูเเลสัตว์ปีกช่วงตั้งไข่

การดูแลสัตว์ปีกในช่วงระยะการตั้งไข่ให้มีประสิทธิภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เจ้าของสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) ต้องใส่ใจอย่างละเอียด เนื่องจากโภชนาการที่เหมาะสมของแม่สัตว์ปีกมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของลูกสัตว์ปีก โภชนาการที่ไม่เพียงพออาจทำให้เกิดปัญหา ‘ไข่ลม’ หรือ ‘ไข่ไม่มีเชื้อ’ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของตัวอ่อนและการออกไข่ของแม่สัตว์ปีก

บทความสัตว์อื่นๆ

การดูเเลหนูเเฮมสเตอร์ตั้งครรภ์

การดูแลสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) ในระยะการตั้งครรภ์ของหนูแฮมสเตอร์เป็นเรื่องสำคัญที่ผู้เลี้ยงต้องใส่ใจ เนื่องจากหนูแฮมสเตอร์สามารถตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่อายุ 6 สัปดาห์ และหากเลี้ยงเพศผู้และเมียรวมกันโดยไม่แยก อาจทำให้เกิดการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ

บทความสัตว์อื่นๆ

โรคบิดจากเชื้อบิดในสัตว์เอ็กโซติก

โรคบิดในสัตว์เอ็กโซติก (Coccidiosis and Giardiasis in Exotic Pets) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว เช่น Coccidia และ Giardia ซึ่งพบได้ในอุจจาระ พื้นหญ้า หรือแหล่งน้ำที่ปนเปื้อน เมื่อสัตว์เอ็กโซติกกินเชื้อเข้าไป โปรโตซัวจะทำลายผนังกระเพาะอาหาร ส่งผลให้การย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารลดลง ทำให้สัตว์เอ็กโซติกเกิดอาการท้องเสีย เบื่ออาหาร และน้ำหนักลด

บทความสัตว์อื่นๆ

ฝุ่น PM 2.5 ต่อสัตว์เอ็กโซติก

ฝุ่น PM 2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า สามารถเข้าสู่ปอดและกระแสเลือด ก่อให้เกิดโรคร้ายแรง เช่น มะเร็งปอด ฝุ่น PM 2.5 ไม่เพียงกระทบต่อมนุษย์ แต่ยังส่งผลต่อสัตว์เลี้ยงและสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) อย่างมาก โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจ

บทความสัตว์อื่นๆ

โรคไรขี้เรื้อนในกระต่าย 

โรคไรขี้เรื้อนในกระต่าย (Dermatologic Disease in Rabbit) คืออะไร?
โรคไรขี้เรื้อนในกระต่าย เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยในกระต่าย เกิดจากการติดเชื้อไรขี้เรื้อน ปรสิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในชั้นผิวหนัง ทำให้กระต่ายมีอาการคัน ผิวหนังอักเสบ ขนร่วง และเกิดสะเก็ดคล้ายขี้รังแค โดยเฉพาะบริเวณใบหู จมูก นิ้วเท้า และเท้า โรคไรขี้เรื้อนในกระต่ายสร้างความไม่สบายตัวและอาจนำไปสู่การติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนได้หากไม่รักษา

บทความสัตว์อื่นๆ

วัคซีนในสัตว์เอ็กโซติก

“สัตว์เอ็กโซติก” กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) มีหลากหลายพันธุ์ ซึ่งเเต่ละพันธุ์ก็จะมีนิสัยตามสัญชาตญาณ เเละโครงสร้างสรีรวิทยาที่แตกต่างกัน จึงทำให้การดูแลสุขภาพของสัตว์เหล่านี้มีความแตกต่างจากสัตว์เลี้ยงทั่วไปอย่างสุนัขและแมวเป็นอย่างมาก ซึ่งหนึ่งในประเด็นที่ผู้เลี้ยงหลายคนสงสัยกันมากในการเลี้ยงดูสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) คือ “สัตว์เอ็กโซติกจำเป็นต้องฉีดวัคซีนเหมือนสุนัข เเละ เเมวหรือไม่?”

บทความสัตว์อื่นๆ

การรักษาสัตว์เอ็กโซติกกับ สัตว์เลี้ยงทั่วไป

การรักษาสัตว์เอ็กโซติกมีความยากและซับซ้อนกว่าการรักษาสัตว์เลี้ยงทั่วไป เจ้าของจึงต้องศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจในความต้องการของสัตว์เลี้ยงของตนเองอย่างละเอียด รวมถึงเลือกสัตวแพทย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการรักษาสัตว์เอ็กโซติกโดยเฉพาะ

บทความสัตว์อื่นๆ

ภัยอันตรายในสัตว์ปีก

การเลี้ยงสัตว์เอ็กโซติก (Exotic Pet) โดยเฉพาะสัตว์ปีก เช่น นกแก้ว ไก่ เป็ด นกเลิฟเบิร์ด และนกฟอพัส กำลังเป็นที่นิยมในประเทศไทย เจ้าของสัตว์เอ็กโซติกต้องเตรียมพร้อมในการดูแลสัตว์ปีกเหล่านี้อย่างพิถีพิถัน ทั้งการจัดการสถานที่เลี้ยงดู อาหารที่เหมาะสม และการตรวจสุขภาพสัตว์เอ็กโซติกกับสัตวแพทย์ เพื่อป้องกันโรคภัยที่อาจเกิดขึ้นได้

Scroll to Top